Virtual instrumentation

เครื่องมือวัดเสมือนจริง                                                               

3(2-3-10)

วิชาบังคับก่อน:  ENG39 2103 ไมโครคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้

พื้นฐานการออกแบบเครื่องมือวัดเสมือนจริง การเขียนโปรแกรมแบบกราฟิกและเทคนิคการแก้ไขข้อบกพร่อง ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรือไมโครคอนโทรลเลอร์กับโลกภายนอก การใช้คอมพิวเตอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุมการทำงานของเครื่องมือ การมองเห็นด้วยคอมพิวเตอร์ เทคนิคการประมวลผลภาพเบื้องต้น การควบคุมมอเตอร์ การส่งข้อมูลแบบอนุกรม I2C, SPI, UART, RS232, RS485, CAN รูปแบบสัญญาณ การเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างสัญญาณ การอ่านสัญญาณ การส่งข้อมูลแบบ Synchronous (ซิงโครนัส) และ Asynchronous (อะซิงโครนัส) การเชื่อมต่ออุปกรณ์แบบหลายตัวผ่านบัสอนุกรม เป็นต้น และตัวอย่างการประยุกต์ในการวิจัยพัฒนาและในอุตสาหกรรม

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับรายวิชา

  1. เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมแบบ Data flow programing และรู้จักเมนูหลักในการเขียนและการแสดงผลของโปรแกรม LabVIEW และรู้จักใช้เครื่องมือในการแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม
  2. สามารถใช้คำสั่งสำหรับการทำงานแบบ While loop, For loop, Shift registers, Sequence structure และ The case structure และรู้จักคำสั่งแสดงผลแบบ Charts, Graphs, Control Panels รูปแบบต่าง ๆ ได้
  3. รู้จักและสามารถใช้คำสั่งในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ และใช้โปรแกรม LabVIEW เขียนโปรแกรมคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้
  4. สามารถอธิบายรูปแบบการส่งข้อมูลแบบอนุกรมได้
  5. เข้าใจรูปแบบการส่งข้อมูลแบบอนุกรมโปรโตคอล I2C, SPI, UART, RS232, RS485 ได้
  6. เข้าใจรูปแบบการส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส (Synchronous) และ (Asynchronous) อะซิงโครนัส
  7. สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างสัญญาณ อ่านสัญญาณและแก้ไขข้อผิดพลาดของสัญญาณโดยใช้ตัววิเคราะห์ลอจิกได้
  8. เข้าใจส่วนประกอบและหลักการทำงานของการมองเห็นด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมประมวลผลภาพและวิดีโอขั้นพื้นฐาน เช่น Particle analysis, Edge detection, Pattern matching, Dimension measurement และ Tracking เป็นต้น
  9. เขียนโปรแกรมเพื่อสร้างเครื่องมือวัดที่กำหนดให้ด้วยตนเองได้

Virtual Instrumentation

Prerequisite:   ENG39 2103 Microcontroller and Applications

Fundamentals of the design of virtual measuring instruments Graphical programming and debugging techniques math function Transmission of data between a computer or microcontroller and the outside world. Using computers and microcontrollers to control the operation of the instrument. computer vision Basic Image Processing Techniques motor control Serial data transmission I2C, SPI, UART, RS232, RS485, CAN signal format, programming to generate signals. Signal reading Synchronous (synchronous) and asynchronous (asynchronous) transmission, the connection of multiple devices via the serial bus, etc., and application examples in R&D and industry.

Course Learning Outcomes (CLOs)

  1. Understand the principles of data flow programming and know the main menu for writing and displaying the LabVIEW program, and know how to use the tools to debug the program.
  2. Can use commands for working while loop, for loop, Shift registers, Sequence structure and the case structure, and can recognize various commands to display Charts, Graphs, Control Panels.
  3. Know and be able to use commands to perform mathematical calculations. And can use LabVIEW to write mathematical programs
  4. Can describe the format of serial data transmission.
  5. Understand serial data transmission formats, protocols I2C, SPI, UART, RS232, RS485.
  6. Understand the synchronous transmission pattern. (Synchronous) and (Asynchronous) Asynchronous
  7. Able to write programs to generate signals Signals can be read and error corrected using a logic analyzer.
  8. Understand the components and working principles of computer vision. Programming basic image and video processing such as Particle analysis, Edge detection, Pattern matching, Dimension measurement and Tracking, etc.
  9. Write a program to create a measuring tool that can be defined by yourself.