Fermentation Technology 

เทคโนโลยีการหมัก                                                             

3(3-0-6)

วิชาบังคับก่อน:  โดยความเห็นชอบของสาขาวิชา

ระบบการหมัก การเลี้ยงเชื้อแบบต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่อง วัตถุดิบของการหมัก การหมักผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพและอาหาร การออกแบบถังหมัก เครื่องมือวัดและควบคุม การเติมอากาศและกวนสาร การจำลองแบบของกระบวนการหมัก การนำสารกลับมาใช้ใหม่และการทำให้ผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหมักบริสุทธิ์

ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้

  1. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และทางวิศวกรรมเคมีในการออกแบบ ควบคุม และปรับปรุงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการหมัก (PLO 1, 2)
  2. สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์และกระบวนการหมักผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพและอาหารผ่านทางการทำโครงงานที่มอบหมายเป็นกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (PLO 3, 5)
  3. สามารถเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับกระบวนการหมักและปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของสังคม สภาพแวดล้อม และอื่น ๆ ของไทยได้อย่างเหมาะสม (PLO 7)
  4. เข้าใจถึงความสำคัญและแนวทางในการอ้างอิงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มาใช้ประกอบการทำโครงงานของตนเอง (PLO 6)

Fermentation Technology                                                               

Prerequisite:   Consent of the school

Fermentation systems. Batch and continuous culture. Raw materials for fermentation. Fermentation in biological and food industry. Design of a fermenter. Instrumentation and control. Aeration and agitation. Fermentation modeling. Recovery and purification of fermentation products.

Learning outcomes

  1. To apply basic science, engineering, and chemical engineering knowledge in design, control and improvement of unit operations used in fermentation processes. (PLO 1, 2)
  2. To appropriately solve problems related to equipment, and biological and food fermentation processes, especially on the group-assigned term project. (PLO 3, 5)
  3. To study new technology for fermentation processes and appropriately adapt to Thai biological and food industries. (PLO 7)
  4. To understand the importance and method of citation for references, especially on the references that students use in their term projects. (PLO 6)