PhD in Electrical and Computer Engineering

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์

Electrical and Computer Engineering

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ (Electrical and Computer Engineering)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เริ่มเปิดสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2567 โดยใช้ชื่อหลักสูตรว่าวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567) โดยหลักสูตรมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ด้านการวิเคราะห์ประยุกต์และออกแบบ, ด้านโครงการก่อสร้างงานระบบไฟฟ้า, ระบบสื่อสารและระบบคอมพิวเตอร์, ระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม, การพัฒนาซอฟต์แวร์ และส่งเสริมให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อการผลิตบุคลากรทางวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ที่มีศักยภาพสูง มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาและปรับตนเองในการปฏิบัติงานในองค์กรภาครัฐ/เอกชน และมีจริยธรรม คุณธรรม เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปอุดมศึกษาไทย โดยหลักสูตรมุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านกำลังคน ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ ออกแบบ และใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสมัยใหม่ ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี พร้อมทั้งมีมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล อีกทั้งได้มุ่งเน้นการพัฒนาบัณฑิตให้เป็นไปตามนโยบาย ของประเทศและมหาวิทยาลัย

ข้อมูลทั่วไป

General Info

ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์)
Doctor of Philosophy (Electrical and Computer Engineering)

ชื่อย่อ
ปร.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์)
Ph.D. (Electrical and Computer Engineering)

รูปแบบของหลักสูตร

ภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ ภาคนอกเวลา(เฉพาะวันอาทิตย์)
ระยะเวลา: 3 ปี (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท), 4 ปี (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี(เกียรตินิยม))
จำนวนรับเข้า (ประมาณ): 1 คน

ปีที่ออกหลักสูตร

หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567
สำหรับนักศึกษารหัส D67 เป็นต้นไป

คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา

ผู้สมัครต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาโทหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาหรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นปริญญาตรี(เกียรตินิยม)หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา
(เป็นไปตามข้อบังคับข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาขั้นบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวด 1 ข้อ 6.4)

ค่าเล่าเรียน

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท
ปีการศึกษาละ 80,000 บาท
สามารถแบ่งจ่ายได้ โดยแบ่งเป็น
เทอมที่ 1: 30,000 บาท
เทอมที่ 2: 25,000 บาท
เทอมที่ 3: 25,000 บาท
ตลอดหลักสูตร ประมาณ 240,000 บาท
(รวมไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต)

สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี(เกียรตินิยม)
ปีการศึกษาละ 80,000 บาท
สามารถแบ่งจ่ายได้ โดยแบ่งเป็น
เทอมที่ 1: 30,000 บาท
เทอมที่ 2: 25,000 บาท
เทอมที่ 3: 25,000 บาท
ตลอดหลักสูตร ประมาณ 320,000 บาท
(รวมไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต)

สถิติหลักสูตร

อัตราการได้งานทำภายใน 1 ปี มากกว่า xx%
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาก่อนหรือตรงเวลา (9 ภาคเรียน) xx%, รวมผู้สำเร็จการศึกษา xx % (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท)
จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาก่อนหรือตรงเวลา (12 ภาคเรียน) xx%, รวมผู้สำเร็จการศึกษา xx % (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี(เกียรตินิยม))

มาตรฐานหลักสูตร

หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. 2565 / ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา ในปีการศึกษา 2569

การย้ายสาขาวิชา

เป็นไปตามประกาศสำนักวิศวกรรมศาสตร์ เรื่อง การย้ายสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษา

หลักสูตรก่อนหน้า

Contact Info

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

อาคารวิชาการ 1 ชั้น 4
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
111 ถนนมหาวิทยาลัย ตำบลสุรนารี
อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000

+66 4422 4422
cpesut.th@g.sut.ac.th

วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 8:30 – 16:30 น.

Website

Social Info

Course Lists

PEOs
PLOs
Structure
Careers
Further Studies
วัตถุประสงค์ทางการศึกษาของหลักสูตร

Program Educational Objectives

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์มีวัตถุประสงค์เพื่อ:

PEO 1
พื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ขั้นสูง และประสบการณ์ในการวิจัยในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรมและเป็นผู้นำของสังคมได้
Produce graduates with advanced knowledge and research experience in the fields of electrical and computer engineering, which are graduates who have morals and can become leaders of society.
PEO 2
เพื่อฝึกหัดบัณฑิตให้เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถค้นคว้าและต่อยอดองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ฝึกทักษะการสื่อสารเพื่อเผยแพร่งานวิจัย
To train graduates to be knowledgeable people. Able to research and expand knowledge by oneself to have lifelong learning skills Practice communication skills to disseminate research.
PEO 3
เพื่อเสริมสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ทักษะและประสบการณ์ในการวิจัยประยุกต์ที่สามารถบูรณาการทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์เข้ากับศาสตร์ในสาขาอื่น เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน และประเทศชาติได้
Develop graduates with knowledge, skills and experience in applied research that can integrate electrical and computer engineering with other fields of disciplinary. Create innovations that are beneficial to community development and the country.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร

Program Learning Outcomes

เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว ผู้เรียนสามารถ:

PLO 1
บัณฑิตสามารถอธิบายความสำคัญของศาสตร์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
Graduates can explain the importance of electrical and computer engineering.
PLO 2
บัณฑิตมีความสามารถในการใช้ทักษะที่จำเป็นในการวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
Graduates have the ability to use the skills necessary to analyze and solve technical problems in electrical and computer engineering.
PLO 3
บัณฑิตมีความสามารถในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมตลอดชีวิต การเพิ่มทักษะและการยกระดับขีดความสามารถทางวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
Graduates have the ability to seek additional knowledge throughout their lives. Upskilling and upgrading Academic capabilities in electrical and computer engineering.
PLO 4
บัณฑิตมีความสามารถในการออกแบบและบูรณาการองค์ความรู้เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมได้
Graduates have the ability to design and integrate knowledge to create innovations.
PLO 5
บัณฑิตมีความสามารถในการประพฤติตนให้มีความรับผิดชอบ และมีจรรยาบรรณต่อทางวิชาชีพวิศวกรรมด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
Graduates have the ability to behave responsibly and have professional engineering ethics in electrical and computer engineering.
PLO 6
บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสารทางภาษา เพื่อแสดงถึงความรู้และแสดงถึงพฤติกรรมการเข้าสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
Graduates have the ability to communicate in language. To demonstrate knowledge and socializing with quality.
PLO 7
บัณฑิตมีความสามารถในการใช้งานสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต การจัดเตรียมข้อมูลและการนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Graduates have the ability to use information, the Internet, prepare data and present effectively.
PLO 8
บัณฑิตมีความสามารถในการคำนวณและมีทักษะในด้านการโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อวัตถุประสงค์ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
Graduates have the ability to calculate and have skills in computer programming for both academic and professional purposes.
จำนวนหน่วยกิต

Credits

แผน 1 การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์โดยไม่ต้องศึกษารายวิชา
แผน 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่จบการศึกษาขั้นปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

Program Structure

จำนวนหน่วยกิต

Credits

แผน 2 การศึกษารายวิชาและการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์
แผน 2.1 ผู้เข้าศึกษาที่จบการศึกษาขั้นปริญญาโท ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

Program Structure

จำนวนหน่วยกิต

Credits

แผน 2 การศึกษารายวิชาและการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์
แผน 2.2 ผู้เข้าศึกษาที่จบการศึกษาขั้นปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสูตร

Program Structure

กลุ่มอาชีพเป้าหมายเมื่อจบการศึกษา

Career Opportunities

  • วิศวกรด้านการวิเคราะห์ ประยุกต์ และออกแบบ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ด้านระบบควบคุมและอัตโนมัติ
    An engineer in analysis, application and design in electrical engineering. computer engineering, control and automation systems.
  • วิศวกรด้านการวิเคราะห์ ประยุกต์ และออกแบบ ด้านโครงการก่อสร้างงานระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสารและระบบคอมพิวเตอร์
    An engineer in analysis, application and design in construction project electrical system, communication system and computer system.
  • วิศวกรด้านการวิเคราะห์ ประยุกต์ และออกแบบ ระบบไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม
    An engineer in analysis, application and design in industrial plant electrical system.
  • วิศวกรไฟฟ้า และวิศวกรคอมพิวเตอร์ ภาคราชการ ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ
    An electrical engineer, computer engineer in government, private and state enterprise.
  • นักพัฒนาซอฟต์แวร์
    A software developer.
  • ผู้ช่วยนักวิจัย หรือนักวิจัยด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
    A research assistant or a researcher in electrical engineer and computer engineer.
  • อาจารย์ และนักวิชาการ
    A lecturer and an academic.
การวิจัยหลังจบปริญญาเอก

Further Studies

สามารถศึกษาต่อใน ….
Students can continue their studies in ….

หากคุณกำลังมองหาสิ่งที่ท้าทาย สนุกสนาน และสมดุลในความรู้ อย่ารอช้า… มาเริ่มต้นเรียนรู้และสร้างสรรค์กับหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ของเราได้เลย!

รายวิชาของหลักสูตร (แผน 1.1 การวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์โดยไม่ต้องศึกษารายวิชา(สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท))

Course Lists (Plan 1.1 Research for a thesis without studying courses (for master's degree graduates))

Doctoral Thesis

หมวดวิทยานิพนธ์
หมวดวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต

Doctoral Thesis

รายวิชาของหลักสูตร (แผน 2.1 การศึกษารายวิชาและการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโท))

Course Lists (Plan 2.1 Course study and research for thesis (for Master's degree Graduates))

Elective Courses

หมวดวิชาเลือก

Doctoral Thesis

หมวดวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต
หมวดวิชาเลือก

Elective Courses

หมวดวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต

Doctoral Thesis

รายวิชาของหลักสูตร (แผน 2.2 การศึกษารายวิชาและการวิจัยเพื่อทำวิทยานิพนธ์ (สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาตรี(เกียรตินิยม)))

Course Lists (Plan 2.2 Course study and research for thesis (For graduates with a Bachelor's degree (Honours)))

Compulsory Courses

หมวดวิชาบังคับ

Elective Courses

หมวดวิชาเลือก

Doctoral Thesis

หมวดวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาบังคับ

Compulsorry Courses

หมวดวิชาเลือก

Elective Courses

หมวดวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต

Doctoral Thesis