ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กีรติ สุลักษณ์
Assist. Prof. Dr. Keerati Suluksna




ติดต่อ
อาคารวิชาการ 1 ชั้น 2 ห้อง ME-15 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
โทรศัพท์: 044-224235,   โทรสาร: 044-224613
อีเมล์: keerati@sut.ac.th


ความเชี่ยวชาญ
การคำนวณเชิงตัวเลขและการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์และออกแบบงานทางวิศวกรรม; กลศาสตร์ของไหลและพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ; การจำลองความปั่นป่วน; การพัฒนารหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร์แก้ปัญหาทางวิศวกรรม


ประวัติย่อ
เกิดวันที่ 4 ตุลาคม ที่ อ.ลำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ ภูมิลำเนาปัจจุบันอยู่ที่ ต.โนนดินแดง อ.โนนดินแดง จ.บุรีรัมย์ มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน (เป็นคนที่ 3) เรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนบ้านโนนดินแดง ชั้นมัธยมต้นที่โรงเรียนร่มเกล้า และมัธยมปลายที่โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์ ได้โควต้าเข้าเรียนต่อปริญญาตรีด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส) เมื่อปี 2536 โดยเป็นนักศึกษารุ่นที่ 1 จบการศึกษาในสาขาวิศวกรรมเครื่องกลเมื่อปี 2540 เข้าทำงานเป็นผู้ช่วยสอนและวิจัยรุ่นที่ 1 ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มทส เป็นเวลา 2 ปี (2540-2542) จากนั้นได้รับทุนพัฒนาอาจารย์ไปเรียนต่อระดับปริญญาโทที่หาวิทยาลัยขอนแก่น ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล โดยทำวิจัยด้านการคำนวณเชิงตัวเลขสำหรับพลศาสตร์การไหล ในด้านประยุกต์วิธีมัลติกริดเพื่อช่วยเร่งการคำนวณ จบการศึกษาปี 2545 ได้บรรจุเป็นอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มทส จากนั้นได้รับทุนพัฒนาอาจารย์เมื่อปี 2545 ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยทำวิจัยด้านแบบจำลองการไหลทรานสิชัน ปัจจุบันเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

การศึกษา
2550 วิศวกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2545วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2540วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


ประวัติการทำงาน
2552 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2554 – 2556 คณะกรรมการประจำสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2545 – 2552 อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2540 – 2542 ผู้ช่วยสอนและวิจัย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี


ผลงาน
•   โครงการวิจัย
(1) Improvement of Transition Model for Predicting Transitional Flow/ สนับสนุนโดย บริษัท CD ADAPCO/ 2551–2553/ งบประมาณ 700,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(2) พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณสำหรับการไหลผ่านรูปทรงที่ซับซ้อน 3 มิติ/ สนับสนุนโดย MTEC/ 2552–2554/ งบประมาณ 1,200,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(3) Correlation for Modeling the Characteristics of Laser Soldering Interconnec- tion Process/ สนับสนุนโดย NECTEC-Seagate/ 2552-2553/ งบประมาณ 260,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(4)การปรับปรุงกระบวนการเชื่อมต่อด้วยก๊าซร้อนสำหรับการเชื่อมชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ ไดร์ฟ/ สนับสนุนโดย NECTEC / 2550–2552/ งบประมาณ 500,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(5)พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณสำหรับการไหลผ่านรูปทรงที่ซับซ้อน 3 มิติ/ สนับสนุนโดย MTEC/ 2552–2554/ งบประมาณ 1,200,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(6)การพัฒนาซอฟต์แวร์ซีเอฟดีสำหรับการไหลปั่นป่วนบนพื้นฐานแบบจำลอง RANS / สนับสนุนโดย MTEC/ 2554–2556/ งบประมาณ 450,000 บาท/ หน้าที่: หัวหน้าโครงการ
(7)การพัฒนาตู้อบอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ 3G / สนับสนุนโดย Celestica/ 2554–2555/ หน้าที่: งบประมาณ 300,000 บาท/ นักวิจัยร่วมของโครงการ
(8)โครงการพัฒนาประดิฐกรรมเพื่อชุมชน “เครื่องเจาะรูขวานโลหะ” / สนับสนุนโดย สถาบันไทย-เยอรมัน/ 2556–2557/ งบประมาณ 240,000 บาท/ หน้าที่: ที่ปรึกษาด้านวิชาการ
(9)โครงการพัฒนาประดิฐกรรมเพื่อชุมชน “เครื่องทอดกล้วยแบบต่อเนื่อง” / สนับสนุนโดย สถาบันไทย-เยอรมัน/ 2556–2557/ งบประมาณ 240,000 บาท/ หน้าที่: นักวิจัยหลักของโครงการ

•   เอกสารตำราวิชาการ
(1) กีรติ สุลักษณ์. พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2552
(2) กีรติ สุลักษณ์. พลศาสตร์ของแกส. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยาน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2554
(3) กีรติ สุลักษณ์. การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยแมทแลบ. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาแมคาทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2553
(4) กีรติ สุลักษณ์. คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมเครื่องกล. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2554
(5) กีรติ สุลักษณ์. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์งานทางวิศวกรรม. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2553
(6) กีรติ สุลักษณ์. คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล เรื่อง ระบบเก็บรังสีความร้อนจากแสงอาทิตย์ เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2552


•  บทความ/สัมมนาทางวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ
(1) K. Suluksna, C. Chinporncharernpong, J. Limtrakool. A Study of a Multigrid Method Efficiency in Accelerating the Converging Rate by Observing the u-Velocity Changes during the Iteration Cycle. The 16th ME-NETT, 2002, Phuket, Thailand
(2) K. Suluksna, V. Juntasaro, P. Uthayopas, E. Juntasaro. Fast Solver for Three-Dimensional Turbulent Flow using Multigrid Method. The 7th Annual National Symposium on Computational Science and Engineering (ANSCSE), 24-26 March 2003, Bangkok, Thailand
(3) K. Suluksna, A. Meesit, J. Usavanun, V. Juntasaro, E. Juntasaro. Adaptive Mesh Refinement Method for Flow in Boundary Layer. The 17th ME-NETT, 15-17 October 2003, Prachin Buri, Thailand
(4) K. Suluksna, E. Sukjit, V. Juntasaro and E. Juntasaro. Numerical Prediction of Natural Convection in a Square Cavity. The 15th International Symposium on Transport Phenomena, 9-13 May 2004, Bangkok, Thailand.
(5) K. Suluksna, V. Juntasaro, E. Juntasaro. Capability Assessment of Intermittency Transport Equations for Modeling Flow Transition. The 19th ME-NETT, 19-21 October 2005, Phuket, Thailand
(6) K. Suluksna, V. Juntasaro, E. Juntasaro. γ-Reθ Transport Equation for Modeling Transition in Boundary Layers Subjected to Freestream Turbulence. Whither Turbulence Prediction and Control. 26-29 March 2006, Soul, Korea.
(7) K. Suluksna, V. Juntasaro, E. Juntasaro. Prediction of Boundary Layer Flow Transition under Non-Zero Pressure Gradient Conditions using Boundary-Fitted Technique. The 20th ME-NETT, 18-20 October 2006, Nakhon Ratchasima, Thailand.
(8) K. Suluksna, E. Juntasaro. Assessment of Intermittency Transport Equations for Modeling Transition in Boundary Layers Subjected to Freestream Turbulence. Int. J. Heat and Fluid Flows (29), 48-61, 2007.
(9) K. Suluksna, V. Juntasaro, E. Juntasaro. Simulation of flow around and airfoil using multiblock and domain transformation. The 11th Annual National Symposium on Computational Science and Engineering (ANSCSE), 28-30 March 2007, Phuket, Thailand
(10) K. Suluksna, K. Ngiamsoongnirn, P. Malan, E. Juntasaro. Numerical Evaluation of Transition Models for Flow over a Flat Plate with Non-Zero Pressure Gradient. The 23rd Conference of the Mechanical Engineering Network of Thailand, 4-7 November 2009, Chiang Mai, Thailand.
(11) P. Malan, K. Suluksna, E. Juntasaro. Calibrating the γ-Reθ Transition Model. ERCOFTAC Bulletin 80, (Dick, E., and Elsner, W., eds.), September 2009.
(12) P. Malan, K. Suluksna, E. Juntasaro. Calibrating the γ-Reθ Transition Model for Commercial CFD. AIAA 2009-1142, The 47th AIAA Aerospace Sciences Meeting, 5-8 January 2009, Orlando, Florida, USA.
(13) K. Suluksna, P. Dechaumphai, E. Juntasaro. Correlations for Modeling Transitional Boundary Layers under Influences of Freestream Turbulence and Pressure Gradient. Int. J. Heat and Fluid Flows (30), 66-75, 2009.
(14) V. Fugluang, K. Suluksna. Study of Mechanical Property of Joint under the influence of Impulse Forces. The 25th ME-NETT, 19-21 November 2011, Krabi, Thailand.
(15) Y. Glasug, K. Suluksna. Prediction of Two-Dimensional Diffusion Problems Based on Finite Volume Method and Triangular Unstructured Grid. The 25th ME-NETT, 19-21 November 2011, Krabi, Thailand.
(16) T. Punchit, K. Chumniprasart, K. Suluksna. Effect of Welding Parameters on Pitch Angle for Electronic Circuit Bonding Process. KKU Engineering Journal (1), 2012.
(17) N. Chunso, T. Angskun, K. Suluksna. Development of Computer Program for Two-Dimensional Complex Geometry Flows. The 2nd ICOME-TSME, 19-21 November 2011, Krabi, Thailand.
(18) K. Suluksna., N. Chunso. Development of CFD Software for Predicting of Multi-Dimensional Complex Geometry Flows. The 3rd ICOME-TSME, 24-27 October 2012, Chaing Rai, Thailand.
(19) V. Fugluang, K. Suluksna. Design of Jig for Testing of HDD Component Joints. Ladkrabang Engineering Journal (1). 40-46, 2013.
(20) P. Thamartkeng, N. Chunso, K. Suluksna. Analysis of Bonding Electrode under the Operating Condition. The 26th ME-NETT, 16-18 October 2013, Pattaya, Chonburi, Thailand.
(21) เกริกฤทธิ์ สิทธิศาสตร์, กีรติ สุลักษณ์. การจำลองการไหลเวียนของอากาศภายในอาคารวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอนและห้องโถงทดลอง สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์กรมหาชน). การประชุมเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 26, 16-18 ตุลาคม 2556, พัทยา, ชลบุรี.


•   วิทยากร/ฝึกอบรม
(1) “Wall-Bounded and Free-Surface Turbulence and Its Computation”, workshops on “Transition and Turbulence Control and Developments in Navier-Stokes Equations & Turbulence Research”, 7-17 December 2004. Institute for Mathematical Sciences (IMS), National University of Singapore (NUS).
(2) “Implementation of Transitional Model to STAR-CCM+ Software”, 18-27 May 2008, CD-Adapco, Computational Dynamics North America, Ltd., New Hampshire, USA.
(3) “Flip Chip – Technology Overview”, 18-31 October 2008, Seagate Technology Ltd., Minnesota, USA.
(4) “Implementation of Transitional Model to STAR-CCM+ Software”, 18-27 May 2008, CD-Adapco, Computational Dynamics North America, Ltd., New Hampshire, USA.
(5) วิทยากรบรรยาย “การประยุกต์ CFD กับระบบปรับอากาศและระบายอากาศบนอาคารสูง” 10-12 กุมภาพันธ์ 2554, LG Electronics Co., Ltd., เชียงใหม่
(6) The 3rd EEP Mekong Regional Forum, Hanoi, Vietnam, 20-22 November 2012.
(7) วิทยากร “Workshop on CAE for Engineering Applications”,26-28 December 2012. School of Mechanical Engineering, SUT.




   Copyright © 2013 ME-SUT. All rights reserved.

 


เกี่ยวกับเรา

หลักสูตร

บุคลากร

วิจัย/ร่วมมือ

แผนการเรียน

เอกสารเรียน

ข่าวสาร

กิจกรรม

ศิษย์เก่า

ทุน/กองทุน

นานาสาระ

เวบเกี่ยวข้อง

ME เฟซบุค


ข้อมูลบุคลากรของสาขาวิชา
คณาจารย์ประจำสาขาวิชา
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
ผู้ช่วยสอนและวิจัย
ทำเนียบหัวหน้าสาขา
ทำเนียบอดีตคณาจารย์ของสาขา